ต้นแก้วสารพัดนึก ตัวผู้ตัวเมียต่างกันอย่างไร

ต้นแก้วสารพัดนึก ตัวผู้ตัวเมียต่างกันอย่างไร

ก่อนที่จะรู้ว่าแก้วสารพัดนึกตัวผู้ตัวเมียต่างกันอย่างไร เราไปทำความรู้จักกับ ต้นแก้วสารพัดนึก ( Alocasia Polly ) กันก่อน ต้นไม้ที่มีใบสวยไม่ว่าจะเป็น แก้วหน้าม้า ว่าสารพัดนึกนำโชคแก้วมณีแก้วสารพัดนึก มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาใต้เป็นไม้ล้มลุกประเภทเดียวกับว่าหรือบอลทั่วไปมีขนาดโตเต็มที่สูงได้ถึง 1.5 เมตร มีอายุหลายปีลักษณะเป็นใบเดี่ยวรูปหัวใจยาว ๆแหลมจริงขอบเป็นคลื่นใบหนา และแข็งแผ่น ใบด้านบนมีสีเขียวเข้มขอบ และเส้นใบจะเป็นสีเขียวอมเทา ใต้ใบจะเป็นสีม่วงเข้มเส้นกลางใบเป็นร่องตื้น ก้านใบจะเป็นสีน้ำตาลอมเขียวนิยมปลูกเป็นไม้มงคลปลูกประดับอาคารปลูกเป็นไม้กระถางการปลูกชอบดินร่วนระบายน้ำได้ดีชอบแต่เช้าหรือร่มรำไรชอบน้ำชอบความชื้นไม่ชอบแดดจะเจริญเติบโตได้ดีในที่ร่มชอบแสงสว่างแต่ไม่ชอบแสงแดด เจริญเติบโตได้ดีในที่ร่มชอบแสงสว่างแต่ไม่ชอบแสงแดด จะเป็นการแยกหรือตัดแยกหน่อใช้ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักละลายน้ำรดเดือนละครั้ง กระถางควรเปลี่ยนทุกปี

เชื่อตามความเชื่อของคนที่ศรัทธาเชื่อกันว่ามีอิทธิฤทธิ์ป้องกันภูตผีปีศาจสิ่งอัปมงคลอันตรายทั้งหลายทั้งปวงทั้งยังเป็นว่าที่ดีในทางเมตตามหานิยมค้าขายดีและผู้ที่มีไว้ครอบครองก็ต้องเป็นคนประพฤติดีปฏิบัติดีด้วย เป็นภาษาอังกฤษว่า สภาพอากาศ ประเภทเดียวกันกับว่านหรือองค์กรทั่วไปนิยมปลูกเป็นไม้ประดับสวนมีขนาดโตเต็มที่ลำต้นสูงถึง 1.5 เมตรเสน่ห์ของว่านแก้วสารพัดนึกจะอยู่ที่ใบค่ะไปไปนะคะมีลักษณะคล้ายรูปกรีดตาคล้ายหน้าม้าถึงเรียกกันว่าวันแก้วหน้าม้าอีกครั้งนะคะยังมีสีสันสะดุดตาที่หน้าใบมีสีเขียวเข้มเป็นมันระยะและมีเส้นใบและเส้นกระดูกไปเปลี่ยนสีขาวเงินนูนเด่นลักษณะของใบแข่งเป็นรูปลูกศรอย่างเหมือนหน้าม้าดุๆค่ะคนที่ศรัทธาในวันจันทร์ก็ได้แล้วแต่จะหวังผลก่อนรดน้ำให้เสร็จ แก้วสารพัดนึกตัวผู้ตัวเมียต่างกันอย่างไร เรามีวิธีดูดังนี้

ลักษณะของต้นแก้วสารพัดนึกนิดตัวเมียลำต้นจะเล็กหน้าคล้ายใต้ใบแดง นอกจากนั้นจะถือว่าเป็นตัวผู้ทั้งหมดนอกจากนี้ลักษณะนี้เช่นต้นใหญ่กว่าใต้ใบเขียวหรือใต้ใบม่วงแต่ไม่น่าพรายซึ่งตัวผู้นี้ผู้เลี้ยงต้องเสกคาถาตามความเชื่ออยู่นานส่วนตัวเมียจะมีสีสันที่สวยงามมากกว่าแต่จะไม่ค่อยนิยมเท่าไหร่เนื่องจากสีไม่เด่นชัดและใบที่บางลักษณะเด่นให้ดูที่ต้นเล็กหูเหมือนม้าหน้าพรายใต้ใบแดงและหน้าดังหน้าม้าและควรจะมีสีม่วงเข้มทั่วทั้งท้องใบโดยเฉพาะใบอ่อนเป็นด่างด่างลายม่วงเขียวบ้างไม่เต็มใบนั้นไม่ใช่จะถูกจัดอยู่ว่าเป็นตัวผู้หรือถ้าได้ใบเขียวใบลายๆจะจัดเป็นว่านจงอางเพราะฉะนั้นการแยกต้นแก้วสารพัดนึกระหว่างตัวผู้หรือตัวเมียให้แยกที่หน้าดุลักษณะจะแหลมลงเร็วกว่าและใต้ใบเป็นสีม่วงเข้มช่อดอกออกที่ซอกใบเป็นช่อเชิงลดมีกาบใบประดับคล้ายกับรองรับช่อดอกสีเขียวอ่อนและมีดอกสีเหลืองอ่อน

วิธีการดูแลต้นแก้วสารพัดนึกเป็นว่าที่ชอบน้ำชอบความชื้นแต่ว่าไม่ชอบแดดจัดหรือว่าร้อนอบอ้าวจนเกินไปถ้าให้ดีควรปลูกในวันพฤหัสบดีเพื่อเสริมมงคลและรดน้ำเพื่อกถานะโมพุทธายะนอกจากนั้นว่าสารพัดนึกชอบความชื้นแต่ไม่แฉะจึงควรเป็นดินที่มีฮิวมัสมากที่ระบายน้ำได้ดีและไม่ควรใช้กาบมะพร้าวเพราะว่าจะมีแต่ในช่วงแรกเมื่อนานวันกลับมะพร้าวจะเละทำให้เป็นแหล่งเพราะเชื้อโรคและทำให้ต้นแก้วสารพัดนึกตายในที่สุดและควรปลูกในที่พังแสงประมาณ 6-7 ถึง 70 เปอร์เซ็นต์คือปลูกในพื้นที่ร่มรำไร การขยายพันธุ์สามารถทำด้วยการชำต้นที่ค่อยๆโตสูงขึ้นและขยายพันธุ์ด้วยหน่อที่แตกออกทางด้านข้าง ส่วนใหญ่จะขายกองละ ขนาด 12 นิ้ว นี่ก็เป็นวิธีแยกแก้วสารพัดนึกตัวผู้ตัวเมียต่างกันอย่างไร

สาระพันธุ์ไม้

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *